พลังงาน-ขนส่ง-เกษตร ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุด

พลังงาน-ขนส่ง-เกษตร ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุด

เมื่อการประชุมรัฐภาคี กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ สมัยที่ 27 (COP27) รัฐบาลไทยได้นำเสนอยุทธศาสตร์ ระยะยาวและแผนงานระยะสั้น ของประเทศไทย

นำเสนอยุทธศาสตร์ ระยะยาวและแผนงานระยะสั้น ของประเทศไทย คือการทำตาม คำมั่นสัญญาว่าภายในปี 2022 จะบรรลุเป้าหมายตามกรอบ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพฟูมิอากาศและ ความตกลงปารีส ซึ่งกำหนดเป้าหมาย ให้ประชาคมโลก ต้องร่วมกันกำจัด การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก ไม่ให้เพิ่มขึ้นเกิน 1.5-2 องศาเซลเซียส ให้ได้ภายใน ค.ศ.2100 (พ.ศ.2643)

(พ.ศ. 2503) ทั้งนี้หลังการประชุม COP26 เมืองกลาสโกว์ ประเทศ สกอตแลนด์ รัฐบาลไทยได้ลงนาม ในข้อตกลงการดำเนินงานภายใต้ ความตกลงปารีส ระหว่าง ราชอาณาจักรไทยกับสมาพันธรัฐสวิส ซึ่งนับเป็นการลงนามข้อตกลง ถ่ายโอนคาร์บอนเครดิตร่วมกัน เป็นคู่แรกของโลกเพื่อเปิดโอกาส ให้ประเทศไทยกับสมาพันธรัฐสวิส ดำเนินความร่วมมือภายใต้ความ ตกลงปารีส ข้อ 6.2 เพื่อจัดทํากรอบ ความร่วมมือโดยสมัครใจสําหรับการ ถ่ายโอนผลการลดก๊าซเรือนกระจก ระหว่างประเทศ

เป้าหมายที่กำลังขึ้นนับเป็น ความท้าทายอย่างมาก คาดการณ์ว่า ไทยจะปล่อยก๊าซเรือนกระจกไปใน ปริมาณมากเท่าไหร่และภาคส่วนใด เป็นผู้ปล่อยก๊าซมากที่สุด ที่มีเป้าหมายความเป็นกลาง ทางคาร์บอน ภายใน ค.ศ. 2050 (พ.ศ. 2593) ปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นศูนย์ ภายใน ค.ศ. 2065

พลังงาน-ขนส่ง-เกษตร ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุด