อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

เกาะติดเช็คอัพเดทล่าสุด "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. ยอด 578 ราย จับตานครศรีธรรมราช ชลบุรี สงขลา สมุทรปราการ สุราษฎร์ธานี ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง ปัตตานี เชียงใหม่

อัพเดทต่อเนื่อง เกาะติดสถานการณ์ โควิดวันนี้ 17 ธ.ค. 64 เกาะติดความคืบหน้า 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด จากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) ตรวจสอบ อัพเดท 10 จังหวัด อันดับพบผู้ติดเชื้อโควิด 19 สูงสุด 

จํานวนผู้ติดเชื้อโควิดในประเทศรายใหม่ วันที่ 17 ธันวาคม 2564 ตรวจสอบ 10 จังหวัดอันดับ

1 กรุงเทพมหานคร
2 นครศรีธรรมราช 
3 ชลบุรี 
4 สงขลา 
5 สมุทรปราการ 
6 สุราษฎร์ธานี 
7 ประจวบคีรีขันธ์ 
8 พัทลุง 
9 ปัตตานี 
10 เชียงใหม่

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

17/12/64 กรุงเทพมหานคร หรือ กทม. ยอดติดเชื้อโควิดสูงสุดอันดับ 1 ของประเทศ ตามด้วย นครศรีธรรมราช ชลบุรี สงขลา สมุทรปราการ สุราษฎร์ธานี ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง ปัตตานี เชียงใหม่

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. - 16 ธ.ค. 2564)
รวม 98,856,753 โดส ใน 77 จังหวัด
 ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 16 ธันวาคม 2564 
ยอดฉีดทั่วประเทศ 416,336 โดส
เข็มที่ 1 : 110,704 ราย
เข็มที่ 2 : 162,632 ราย
เข็มที่ 3 : 143,000 ราย
----------------------------
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 50,314,980 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 43,974,460 ราย
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 4,567,313 ราย

แหล่งข้อมูล : MOPH-IC

 

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม 2564  เวลา 12.30 น.
สถานการณ์การติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศ
ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564
 ผู้ป่วยรายใหม่ 3,537 ราย
 ผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,156,634 ราย
 หายป่วยแล้ว 2,093,265 ราย
 เสียชีวิตสะสม 21,233 ราย
------------
ข้อมูลสะสมตั้งแต่ปี 2563
 ผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,185,497 ราย
 หายป่วยแล้ว 2,120,691 ราย
 เสียชีวิตสะสม 21,327 ราย
ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 16 ธันวาคม 2564
 มีผู้รับวัคซีน สะสมทั้งหมด จำนวน 98,856,753 โดส
-------------
วันที่ 16 ธันวาคม 2564 มีผู้รับการฉีดวัคซีน 
เข็มที่ 1 จำนวน 110,704 ราย
เข็มที่ 2 จำนวน 162,632 ราย
เข็มที่ 3 จำนวน 143,000 ราย

ที่มา ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19 , ศูนย์ข้อมูลCOVID19

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา


สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก 
วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม 2564 เวลา 10.00 น. 
ยอดผู้ติดเชื้อรวม 273,218,485 ราย 
อาการรุนแรง 89,344 ราย 
รักษาหายแล้ว 245,296,117 ราย 
เสียชีวิต 5,352,581 ราย 

 อันดับประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสูงสุด
1. สหรัฐอเมริกา  จำนวน 51,435,652 ราย
2. อินเดีย  จำนวน 34,721,174 ราย
3. บราซิล  จำนวน 22,204,941 ราย
4. สหราชอาณาจักร  จำนวน 11,097,851 ราย
5. รัสเซีย  จำนวน 10,131,646 ราย

ประเทศไทย  อยู่ในอันดับที่ 24 จำนวน 2,185,497 ราย

ข้อมูลจาก ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19 , ศูนย์ข้อมูลCOVID19

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา

กระทรวงแรงงาน เตรียมเยียวยาลูกจ้างถูกเลิกจ้าง จาก COVID แพร่ระบาด

นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิดเผยว่า จากกรณีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จนเป็นเหตุให้สถานประกอบกิจการได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ทำให้นายจ้างบางส่วน ไม่สามารถประกอบกิจการต่อไปได้ และมีการจ่ายค่าจ้างหรือค่าตอบแทนการทำงานให้แก่ลูกจ้าง โดยไม่ถูกต้อง รวมถึงมีการเลิกจ้างลูกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยตามที่กฎหมายกำหนด ปัญหาดังกล่าว พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้มอบหมายให้กระทรวงแรงงาน หามาตรการช่วยเหลือเยียวยาลูกจ้างกลุ่มนี้ให้ได้รับเงินสงเคราะห์ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนในอัตราที่เหมาะสม ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2563 โดยให้แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง ว่าด้วย การจ่ายเงินสงเคราะห์ อัตราเงินที่จะจ่าย และระยะเวลาการจ่ายกรณีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease (COVID-19)) พ.ศ.2564 โดยปรับเพิ่มอัตราเงินสงเคราะห์ ดังนี้

1. กรณีนายจ้างเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย ให้ปรับเงินสงเคราะห์จากอัตราเดิม คือ “จาก 30 เท่า เป็น 60 เท่าของอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ สำหรับลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 3 ปี จาก 50 เท่า เป็น 80 เท่าของอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ สำหรับลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี และ จาก 70 เท่า เป็น 100 เท่าของอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ สำหรับลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป”

2. กรณีเงินอื่นนอกจากค่าชดเชย ให้ปรับเงินสงเคราะห์จากอัตราเดิม คือ “60 เท่า เป็น 100 เท่าของอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ” ระเบียบนี้ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ลูกจ้างที่เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์ตามระเบียบคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างฯ จากสาเหตุนายจ้างประสบปัญหาทางการเงินเพราะสาเหตุการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถขอรับเงินสงเคราะห์เพิ่มเติมได้ที่สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด และสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1-10 ได้แล้ว กระทรวงแรงงานออกระเบียบเพิ่มอัตราและระยะเวลาการจ่ายเงินสงเคราะห์ให้แก่ลูกจ้าง มีผลบังคับใช้ย้อนหลังตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 – 28 กุมภาพันธ์ 2565

ที่มา : กระทรวงแรงงาน

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 578 จับตานครศรีฯ ชลบุรี สงขลา