อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

เกาะติดเช็คอัพเดทล่าสุด "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. ยอด 736 ราย จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา ชลบุรี สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์

อัพเดทต่อเนื่อง เกาะติดสถานการณ์ โควิดวันนี้ 7 พ.ย. 64 เกาะติดความคืบหน้า 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด จากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) ตรวจสอบ อัพเดท 10 จังหวัดอันดับพบผู้ติดเชื้อโควิด 19 สูงสุด 

จํานวนผู้ติดเชื้อโควิดในประเทศรายใหม่ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2564 ตรวจสอบ 10 จังหวัดอันดับ

 

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

07/11/2564 กรุงเทพมหานคร หรือ กทม. ยอดผู้ติดเชื้อโควิดสูงสุดอันดับ 1 ของประเทศ ตามด้วย เชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีธรรมราช นราธิวาส ยะลา ชลบุรีสมุทรปราการ และประจวบคีรีขันธ์

 

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

 

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

วันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน 2564  เวลา 12.30 น.
สถานการณ์การติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศ

ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564
 ผู้ป่วยรายใหม่ 7,960 ราย
หายป่วยแล้ว 1,822,542 ราย
ผู้ป่วยยืนยันสะสม 1,939,136 ราย
 เสียชีวิตสะสม 19,570 ราย
----------------------------
ข้อมูลสะสมตั้งแต่ปี 2563
 หายป่วยแล้ว 1,849,968 ราย
 ผู้ป่วยยืนยันสะสม 1,967,999 ราย
 เสียชีวิตสะสม 19,664 ราย

ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 6 พฤศจิกายน 2564
มีผู้รับวัคซีน สะสมทั้งหมด จำนวน 80,221,553 โดส
----------------------------
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2564 มีผู้รับการฉีดวัคซีน 
เข็มที่ 1 จำนวน 219,782 ราย
เข็มที่ 2 จำนวน 455,543 ราย
เข็มที่ 3 จำนวน 28,256 ราย

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก 
วันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน 2564 เวลา 10.00 น. 
ยอดผู้ติดเชื้อรวม 250,269,668 ราย 
อาการรุนแรง 72,995 ราย 
รักษาหายแล้ว 226,543,867 ราย 
เสียชีวิต 5,060,122 ราย 

อันดับประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสูงสุด
1. สหรัฐอเมริกา  จำนวน 47,313,412 ราย
2. อินเดีย จำนวน 34,354,966 ราย
3. บราซิล จำนวน 21,874,324 ราย
4. สหราชอาณาจักร  จำนวน 9,272,066 ราย
5. รัสเซีย  จำนวน 8,755,930 ราย

ประเทศไทย  อยู่ในอันดับที่ 24 จำนวน 1,967,999 ราย

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ

 

สวทช. ประกาศความสำเร็จในการพัฒนาเทคนิคการสกัดอาร์เอ็นเอหรือการสกัดสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัส โควิด 19 สำหรับตรวจหาเชื้อด้วยวิธี RT-PCR จากชุดสกัดที่ผลิตได้เองในประเทศ หวังลดต้นทุนการนำเข้า ปัจจุบันได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับบริษัทเอกชนในการผลิตและจำหน่ายแล้ว

ทีมนักวิจัยศูนย์โอมิกส์แห่งชาติ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยมหิดล และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คิดค้นและพัฒนา “วิธีสกัดอาร์เอ็นเอ (RNA) ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2) จากตัวอย่างแบบง่าย” ขึ้น โดยใช้อนุภาคแม่เหล็ก (Magnetic bead) จับกับสารพันธุกรรมอาร์เอ็นเอของไวรัส ซึ่งอาร์เอ็นเอของเชื้อไวรัสที่สกัดได้มีความบริสุทธิ์สูง สามารถนำไปตรวจวิเคราะห์ด้วย วิธี RT-PCR ทั้งนี้

วิธีในการสกัดสารพันธุกรรม ที่คิดค้นมี 3 ขั้นตอน ได้แก่

1.การทำให้เซลล์แตกตัวแล้วปล่อยสารพันธุกรรมออกมา

2.การเข้าจับสารพันธุกรรมและทำความสะอาดสารพันธุกรรม

3.การละลายสารพันธุกรรมบริสุทธิ์นั้นออกมาจากตัวจับ และทำความสะอาดสารพันธุกรรมที่อยู่ในตัวอย่าง ซึ่งสามารถทำการสกัดได้เร็ว ราคาถูก ที่สำคัญยังปรับวิธีให้ใช้ได้กับเครื่องสกัดอัตโนมัติที่มีอยู่ในท้องตลาดได้ค่อนข้างง่าย ทั้งนี้ วิธีสกัดอาร์เอ็นเอ ดังกล่าว ยังสามารถนำไปใช้ในการสกัดสารพันธุกรรม ในสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้ ไม่จำกัดเพียงไวรัสก่อโรคโควิด-19 เท่านั้น แต่ยังรวมถึงไวรัสก่อโรคในพืช สัตว์และมนุษย์

ซึ่งวิธีการสกัดที่พัฒนาขึ้น ถือเป็นวิธีที่ง่ายสามารถใช้งานกับสารเคมีและอุปกรณ์ที่มีอยู่ในห้องปฏิบัติการด้านพันธุกรรม ซึ่งทีมนักวิจัยฯ ได้มีการนำไปทดสอบใช้งานจริงกับตัวอย่างตรวจของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์แล้ว พบว่าให้ผลไม่แตกต่างจากการใช้ชุดสกัดที่นำเข้าจากต่างประเทศ

ปัจจุบันทีมวิจัยได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับบริษัท After Lab และ Bioentist เป็นผู้รับอนุญาตให้สิทธิใช้ประโยชน์เพื่อเตรียมผลิตและจำหน่ายทางการค้าครั้งแรกในไทย ทั้งนี้ภายใต้โครงการดังกล่าว ทีมวิจัย สวทช. ได้ร่วมกับบริษัท After Lab ในการปรับวิธีให้สามารถใช้ได้กับเครื่องสกัดแบบอัตโนมัติ และมีทีมของ รศ. ดร.พรสวรรค์ เหลืองวุฒิวงษ์ จากคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ม.มหิดล และทีมของ ดร.พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร่วมในโครงการเพื่อทำการทดสอบการใช้งานในตัวอย่างจริง ซึ่งได้รับการสนับสนุนการใช้เครื่องสกัดสารพันธุกรรมแบบอัตโนมัติ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายจากบริษัท After Lab

ที่มา: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม. 736 จับตาเชียงใหม่ สงขลา ปัตตานี นครศรีฯ