FSMART เปิดกำไรปี 66 แตะ 299 ล้านบาท เผย 'ตู้เต่าบิน' ยอดขายหด 12% เหตุเศรษฐกิจชะลอตัว

FSMART เปิดกำไรปี 66 แตะ 299 ล้านบาท  เผย 'ตู้เต่าบิน' ยอดขายหด 12%  เหตุเศรษฐกิจชะลอตัว

FSMART เปิดกำไรปี 66 แตะ 299 ล้านบาท ลดลง 0.8% เปรียบเทียบกับปีก่อน ขณะที่รายได้รวมจากธุกิจหลักปี 2566 เท่ากับ 2,068.77 ล้านบาท ลดลงเปรียบเทียบกับปีก่อนเช่นกัน เผย 'ตู้เต่าบิน' ยอดขายหด 12% เหตุเศรษฐกิจชะลอตัวกระทบธุรกิจ

บริษัท ฟอร์ท สมาร์ท เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ FSMART เปิดเผยว่า กำไรสุทธิปี 2566 เท่ากับ 299.45 ล้านบาท ลดลง 0.8 % เปรียบเทียบกับปีก่อน จากรายได้ยอดเดิมเงินที่ลดลง ขณะที่รายได้รวมจากธุกิจหลักปี 2566 เท่ากับ 2,068.77 ล้านบาท ลดลงเปรียบเทียบกับปีก่อน จากภาวะเศรษฐกิจซะลอตัวประกอบกับอัตรา 7.6% เปรียบเทียบกับปีก่อน จากภาวะเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อยังคงเงินเฟ้อที่ยังคงสูง ส่งผลให้ราคาสินค้าและบริการที่ยังคงมีราคาสูงอย่างสูงขึ้นจากปัจจัยการขึ้นดอกเบี้ยจากระบบสำรองเงินตราของรัฐบาลต่อเนื่อง

อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงรักษายอดใช้บริการฝาก-โอนเงินกลางสหรัฐ (FED) ถึงแม้จะมีมาตราการพยุงราคาน้ำมันของรัฐบาลไทยแล้วก็ตาม ยิ่งไปกว่านั้นรัฐบาลได้พยายามกระตุ้มเศรษฐกิจด้วยมากกว่า 1.5 ล้านครั้งต่อเดือน คิดเป็นมูลค่ามากกว่า 9,707 ล้านบาทหลากหลายวิธีแต่ด้วยสภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง ทำให้กำลังซื้อของและบริการเติมเงินเข้า E-wallet ผ่านตู้บุญเติมที่เพิ่มชื้น สะท้อนถึงผู้ใช้บริการระดับกลางและล่างยังคงลดน้อยลง ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าหลัก ความสะดวกสบายในการใช้บริการผ่านช่องทางของบริษัทและยังมีความต้องการบริการอยู่อย่างมาก ของทางบริษัท กล่าวได้ว่ารายได้จากธุรกิจหลักยังคงทรงตัวและมีแนวโน้มตีขึ้นในไตรมาส 4/566 จากการใช้บริการที่เพิ่มขึ้นและบริษัทยังคงสามารถรักษายอดการใช้บริการและรักษาฐานลูกค้าได้อย่างมั่นคงต่อเนื่อง

โดยรายได้ผลตอบแทนจากการให้บริการเติมเงินโทรศัพท์ระบบเติมเงินล่วงหน้าและรับชำระเงินออนไลน์อื่นๆ เท่ากับ 405.58 ล้านบาท ลดลง 25.1% เปรียบเทียบกับปีก่อน เนื่องจากกำลังซื้อของกลุ่มลูกค้าลดลงประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค

อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงเชื่อมั่นว่ากลุ่มลูกค้าของบริษัทจะยังมีการใช้งานผ่านช่องทางต่าง ๆ เนื่องจากได้รับความสะดวกในการทำรายการและการมีบริการบนตู้บุญเดิมที่หลากหลายตอบโจทย์กิจวัตรประจำวันของลูกค้าได้เป็นอย่างดี

ส่วนรายได้จากการให้บริการผ่านเครื่องรับชำระเงินอัตโนมัติรายได้รวมเท่ากับ 1,606.28 ล้านบาท ลดลง 3.4% เปรียบเทียบกับปีก่อน จากภาวะเศรษฐกิจซะลอตัวประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่ยังคงสูง ส่งผลให้ราคาสินค้าและบริการที่ยังคงมีราคาสูงอย่างต่อเนื่อง 

อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงรักษายอดใช้บริการฝาก-โอนเงินมากกว่า 1.5 ล้านครั้งต่อเดือน คิดเป็นมูลค่ามากกว่า 9,707 ล้านบาท และบริการเติมเงินเข้า E-wallet ผ่านตู้บุญเติมที่เพิ่มชื้น สะท้อนถึงความสะดวกสบายในการใช้บริการผ่านช่องทางของบริษัทและยังมีความต้องการบริการอยู่อย่างมาก 

รายได้จากการขาย เท่ากับ 14.03 ล้านบาท จากการขายเครื่องใช้ไฟฟ้า และโทรศัพท์มีอถือ ขณะที่รายได้ดอกเบี้ย เท่ากับ 38.38 ส้านบาท เพิ่มขึ้น 51.5% เปรียบเทียบกับปีก่อนหน้า เนื่องจากการเติบโตของพอร์ตสินเชื่อและการเพิ่มโปรแกรมทางการขายต่าง ๆ อาทิเช่น การให้สินเชื่อเช่าซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น