อัปเดตผลเลือกตั้ง! นับเสร็จแล้ว 31 จังหวัด เช็คเลยใครเข้าวิน

อัปเดตผลเลือกตั้ง! นับเสร็จแล้ว 31 จังหวัด เช็คเลยใครเข้าวิน

อัปเดตล่าสุด! รายงานผลการเลือกตั้งไม่เป็นทางการผ่าน ECT Report มีนับเสร็จแล้วครบทุกเขต 1 จังหวัด “ร้อยเอ็ด” 8 เขต “ชาติไทยพัฒนา” ฝ่าด่านได้ 1 เขต กทม.มาแล้ว 6 เขต โคราช 8 เขต บุรีรัมย์ 6 เขต “ชลน่าน” เข้าวิน “เสี่ยโจ้” เพื่อไทยแพ้

เมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2566 เวลา 23.30 น. ผู้สื่อข่าวรายงานจากสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ถึงการรายงานผลคะแนนเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ ผ่านระบบ ECT Report พบว่ามีเขตเลือกตั้งที่หยุดการอัปเดต ซึ่งหมายถึงการนับคะแนนเสร็จสิ้นอย่างไม่เป็นทางการ (นับคะแนนถึง 95%) เรียบร้อยแล้ว ได้แก่

โดยมี 1 จังหวัดที่นับเสร็จสิ้นครบทุกเขตแล้วคือ จ.ร้อยเอ็ด จำนวน 8 เขต ได้แก่

เขตเลือกตั้งที่ 1 นายอนุรักษ์ จุรีมาศ จากพรรคชาติไทยพัฒนา 29,324 คะแนน คิดเป็น 42.32%
เขตเลือกตั้งที่ 2 นายฉลาด ขามช่วง จากพรรคเพื่อไทย 26,256 คะแนน คิดเป็น 31.49%
เขตเลือกตั้งที่ 3 นางรัชนี พลซื่อ จากพรรคพลังประชารัฐ 36,902 คะแนน คิดเป็น 43.94%
เขตเลือกตั้งที่ 4 นายนรากร นาเมืองรักษ์ จากพรรคเพื่อไทย 34,630 คะแนน คิดเป็น 41.69%
เขตเลือกตั้งที่ 5 นางสาวจิราพร สินธุไพร จากพรรคเพื่อไทย 57,232 คะแนน คิดเป็น 70.42%
เขตเลือกตั้งที่ 6 นายกิตติ สมทรัพย์ จากพรรคเพื่อไทย 32,102 คะแนน คิดเป็น 42.10%
เขตเลือกตั้งที่ 7 นายชัชวาล แพทยาไทย จากพรรคไทยสร้างไทย (ทสท.) 40,961 คะแนน คิดเป็น 44.55%
เขตเลือกตั้งที่ 8 นางสาวชญาภา สินธุไพร จากพรรคเพื่อไทย 43,772 คะแนน คิดเป็น 52.01%

กทม.  6 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 3 นายจรยุทธ จตุรพรประสิทธิ์ จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 30,212 คะแนน คิดเป็น 39.20%
เขตเลือกตั้งที่ 11 นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 2,278 คะแนน คิดเป็น 2.26%
เขตเลือกตั้งที่ 22 เนายสุภกร ตันติไพบูลย์ธนะ จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 34,285 คะแนน คิดเป็น 36.94%
เขตเลือกตั้งที่ 24 นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 45,739 คะแนน คิดเป็น 46.81%
เขตเลือกตั้งที่ 27 เนายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 27,104 คะแนน คิดเป็น 49.31%
เขตเลือกตั้งที่ 31 นายสิริน สงวนสิน จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 46,152 คะแนน คิดเป็น 41.92%

อุบลราชธานี  1 เขต คือ 

เขตเลือกตั้งที่ 5 นายสุทธิชัย จรูญเนตร จากพรรคภูมิใจไทย 22,471 คะแนน คิดเป็น 27.13%

กาฬสินธุ์  1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 4 นางสาวประภา เฮงไพบูลย์ จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 24,444 คะแนน คิดเป็น 27.60%

พะเยา 1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 3 นายจีรเดช ศรีวิราช จากพรรคพลังประชารัฐ  ได้มากสุด 26,965 คะแนน คิดเป็น 33.76%

สุโขทัย  1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 2 นายชูศักดิ์ คีรีมาศทอง จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 27,858 คะแนน คิดเป็น 38.88% 

อุทัยธานี  1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 2 นายชาดา ไทยเศรษฐ์ พรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 39,180 คะแนน คิดเป็น 45.92%

ระยอง  1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 3 นายนครชัย ขุนณรงค์ จากพรรคก้าวไกล 27,584 คะแนน คิดเป็น 29.65%

ลำปาง 2 เขต คือ 
เขตเลือกตั้งที่ 1 นางทิพา ปวีณาเสถียร จากพรรคก้าวไกล 34,088 คะแนน คิดเป็น 31.05%
เขตเลือกตั้งที่ 4 นางสาวรภัสสรณ์ นิยะโมสถ จากพรรคก้าวไกล 40,600 คะแนน คิดเป็น 36.20%

ศรีสะเกษ  3 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 4 นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ จากพรรคเพื่อไทย 35,861 คะแนน คิดเป็น 45.65%
เขตเลือกตั้งที่ 5 นายอมรเทพ สมหมาย จากพรรคเพื่อไทย 31,367 คะแนน คิดเป็น 37.96%
เขตเลือกตั้งที่ 9 นางนุชนาถ จารุวงษ์เสถียร จากพรรคเพื่อไทย 38,029 คะแนน คิดเป็น 42.84%

สกลนคร 2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 4 นายพัฒนา สัพโส จากพรรคเพื่อไทย ได้ 24,799 คะแนน คิดเป็น 35.10%
เขตเลือกตั้งที่ 5 นายชัยมงคล ไชยรบ จากพรรคพลังประชารัฐ 28,567 คะแนน คิดเป็น 34.94%

สมุทรสาคร 1 เขต คือ เขตเลือกตั้งที่ 3 นายศิรสิทธิ์ สงนุ้ย จากพรรคก้าวไกล 20,858 คะแนน คิดเป็น 33.92%

สุราษฎร์ธานี 1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 4 นายพันธ์ศักดิ์ บุญแทน จากพรรครวมไทยสร้างชาติ (รทสช.) 21,283 คะแนน คิดเป็น 30.03%

นครราชสีมา  8 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 1 นายฉัตร สุภัทรวณิชย์ จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 38,243 คะแนน คิดเป็น 36.35%
เขตเลือกตั้งที่ 7 นางสาวปิยะนุช ยินดีสุข จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 49,867 คะแนน คิดเป็น 56.83%
เขตเลือกตั้งที่ 9 นายพลพีร์ สุวรรณฉวี จากพรรคภูมิใจไทย 36,634 คะแนน คิดเป็น 39.46%
เขตเลือกตั้งที่ 10 นายอภิชา เลิศพชรกมล จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 48,575 คะแนน คิดเป็น 45.22%
เขตเลือกตั้งที่ 12 นายนรเสฎฐ์ ศิริโรจนกุล จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 42,636 คะแนน คิดเป็น 42.35%
เขตเลือกตั้งที่ 13 นายพชร จันทรรวงทอง จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 10,973 คะแนน คิดเป็น 44.71%
เขตเลือกตั้งที่ 14 นายศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ จากพรรคเพื่อไทย 26,683 คะแนน คิดเป็น 28.51%
เขตเลือกตั้งที่ 15 นายรชตะ ด่านกุล จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 42,834 คะแนน คิดเป็น 41.58%

กำแพงเพชร  2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 4 นายปริญญา ฤกษ์หร่าย จากพลังประชารัฐ ได้มากสุด 30,712 คะแนน คิดเป็น 37.77%
เขตเลือกตั้งที่ 2 นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ จากพรรคพลังประชารัฐ ได้มากสุด 41,062 คะแนน คิดเป็น 38.99%

อ่างทอง 1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 2 นายกรวีร์ ปริศนานันทกุล จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 20,420 คะแนน คิดเป็น 33.69%

น่าน  2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 1 นายทรงยศ รามสูต จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 29,233 คะแนน คิดเป็น 32.95%
เขตเลือกตั้งที่ 2 นายชลน่าน ศรีแก้ว หัวหน้าพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 51,584 คะแนน คิดเป็น 56.46%

ขอนแก่น  2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 5 นายภาควัต ศรีสุรพล จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 43,425 คะแนน คิดเป็น 75.22%
เขตเลือกตั้งที่ 9 นางสาวสรัสนันท์ อรรณนพพร จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 43,525 คะแนน คิดเป็น 54.02%

ชัยภูมิ  2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 1 นายโอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 24,078 คะแนน คิดเป็น 26.85%
เขตเลือกตั้งที่ 3 นายสัมฤทธิ์ แทนทรัพย์ จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 35,237 คะแนน คิดเป็น 41.63%

นครปฐม  1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 3 นายพาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์ จากพรรคชาติไทยพัฒนา ได้มากสุด 26,817 คะแนน คิดเป็น 46.42%

นครพนม  1 เขต คือ

คือ เขตเลือกตั้งที่ 1 นายภูมิพัฒน์ พชรทรัพย์ จากพรรคเพื่อไทย ได้มากสุด 42,781 คะแนน คิดเป็น 45.34%

นราธิวาส  1 เขต คือ

คือ เขตเลือกตั้งที่ 2 นายอามินทร์ มะยูโซ๊ะ จากพรรคพลังประชารัฐ (พปชร.) ได้มากสุด 30,288 คะแนน คิดเป็น 37.89%

บุรีรัมย์  6 เขต คือ 
เขตเลือกตั้งที่ 1 นายสนอง เทพอักษรณรงค์ จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 20,907 คะแนน คิดเป็น 37.42%  
เขตเลือกตั้งที่ 3 นายอดิพงษ์ ฐิติพิทยา จากพรรคภูมิใจไทย 35,953 คะแนน คิดเป็น 48.40%
เขตเลือกตั้งที่ 4 นายรังสิกร ทิมาตฤกะ จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 10,352 คะแนน คิดเป็น 27.18%
เขตเลือกตั้งที่ 7 นายพรชัย ศรีสุริยันโยธิน จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 27,872 คะแนน คิดเป็น 33.98%
เขตเลือกตั้งที่ 8 นายไตรเทพ งามกมล จากพรรคภูมิใจไทย ได้มากสุด 31,966 คะแนน คิดเป็น 39.53%

พังงา 1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 2 นายฉกาจ พัฒนกิจวิบูลย์ จากพรรคพลังประชารัฐ ได้มากสุด 20,252 คะแนน คิดเป็น 25.82%

พิจิตร 2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 2 นายวินัย ภัทรประสิทธิ์ จากพรรคภูมิใจไทย 23,669 คะแนน คิดเป็น 26.30%
เขตเลือกตั้งที่ 3 นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ จากพรรคภูมิใจไทย 28,721 คะแนน คิดเป็น 31.53%

พิษณุโลก 1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 5 นายศุภปกรณ์ กิตยาธิคุณ จากพรรคก้าวไกล ได้มากสุด 22,222 คะแนน คิดเป็น 24.02%

เพชรบูรณ์ 2 เขต คือ 
เขตเลือกตั้งที่ 1 นางสาวพิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์ จากพรรคพลังประชารัฐ 29,461 คะแนน คิดเป็น 37.35%
เขตเลือกตั้งที่ 5 นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ จากพรรคพลังประชารัฐ 34,314 คะแนน คิดเป็น 39.72%

แพร่  1 เขต คือ นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล จากพรรคเพื่อไทย 31,135 คะแนน คิดเป็น 36.81%

มหาสารคาม  3 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 1 นายกิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์ จากพรรคเพื่อไทย 28,708 คะแนน คิดเป็น 32.74%
เขตเลือกตั้งที่ 3 นายลัทธชัย โชคชัยวัฒนากร จากพรรคภูมิใจไทย 41,727 คะแนน คิดเป็น 49.77%
เขตเลือกตั้งที่ 5 นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ จากพรรคเพื่อไทย 40,289 คะแนน คิดเป็น 44.90%

อำนาจเจริญ  1 เขต คือ

เขตเลือกตั้งที่ 1 นางสุขสมรวย วันทนียกุล จากพรรคภูมิใจไทย 35,479 คะแนน คิดเป็น 37.45%

อุดรธานี  2 เขต คือ
เขตเลือกตั้งที่ 1 นายณัฐพงษ์ พิพัฒน์ไชยศิริ จากพรรคก้าวไกล 20,658 คะแนน คิดเป็น 33.38%
เขตเลือกตั้งที่ 5 นายกรวีร์ สาราคำ จากพรรคเพื่อไทย 36,489 คะแนน คิดเป็น 49.75%