อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

อัพเดท "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

เกาะติดเช็คอัพเดทล่าสุด "โควิดวันนี้" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส นครศรีธรรมราช ปัตตานี ชลบุรี จันทบุรี ระยอง สมุทรปราการ

อัพเดทต่อเนื่อง เกาะติดสถานการณ์ โควิดวันนี้ 14 ต.ค. 64 เกาะติดความคืบหน้า จากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) ตรวจสอบ อัพเดท 10 จังหวัดอันดับพบผู้ติดเชื้อโควิด 19 สูงสุด 


จํานวน ผู้ติดเชื้อโควิดในประเทศรายใหม่ วันที่ 14 ตุลาคม 2564 ตรวจสอบ 10 จังหวัดอันดับแรก


กรุงเทพมหานคร 1,095 ราย
ยะลา 785 ราย
สงขลา 594 ราย
นราธิวาส 545 ราย
นครศรีธรรมราช 500 ราย
ปัตตานี 498 ราย
ชลบุรี 447 ราย 
จันทบุรี 423 ราย
ระยอง 385 ราย
สมุทรปราการ 381 ราย

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส


14 ต.ค. 64 กรุงเทพมหานคร หรือ กทม. ยอดติดเชื้อโควิดสูงสุดอันดับ 1 ของประเทศ ตามด้วย ยะลา สงขลา นราธิวาส นครศรีธรรมราช ปัตตานี ชลบุรี จันทบุรี ระยอง และ สมุทรปราการ

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส

วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม 2564  เวลา 12.30 น.
สถานการณ์การติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศ
ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564
 ผู้ป่วยรายใหม่ 11,276 ราย
 หายป่วยแล้ว 1,598,324 ราย
 ผู้ป่วยยืนยันสะสม 1,722,841 ราย
 เสียชีวิตสะสม 17,935 ราย
----------------------------
ข้อมูลสะสมตั้งแต่ปี 2563
 หายป่วยแล้ว 1,625,750 ราย
 ผู้ป่วยยืนยันสะสม 1,751,704 ราย
 เสียชีวิตสะสม 18,029 ราย

ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 13 ตุลาคม 2564
 มีผู้รับวัคซีน สะสมทั้งหมด จำนวน 62,579,803 โดส
----------------------------
วันที่ 13 ตุลาคม 2564 มีผู้รับการฉีดวัคซีน
เข็มที่ 1 จำนวน 343,822 ราย
เข็มที่ 2 จำนวน 219,841 ราย
เข็มที่ 3 จำนวน 20,331 ราย


อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส


ถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก 
วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม 2564 เวลา 10.00 น. 
ยอดผู้ติดเชื้อรวม 239,906,803 ราย 
อาการรุนแรง 80,653 ราย 
รักษาหายแล้ว 217,246,098 ราย 
เสียชีวิต 4,888,708 ราย 
 อันดับประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสูงสุด
1. สหรัฐอเมริกา  จำนวน 45,546,217 ราย
2. อินเดีย  จำนวน 34,019,680 ราย
3. บราซิล  จำนวน 21,597,949 ราย
4. สหราชอาณาจักร  จำนวน 8,272,883 ราย
5. รัสเซีย 󠁧󠁢󠁥󠁮󠁧󠁿 จำนวน 7,861,681 ราย

ประเทศไทย  อยู่ในอันดับที่ 24 จำนวน 1,751,704 ราย

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส


หลายดัชนียืนยันประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีระบบสาธารณสุขที่ดีที่สุดในโลก

ในช่วงของการระบาดของโควิดที่ผ่านมาได้มีการเผยแพร่รายงานดัชนีความมั่นคงทางด้านสาธารณสุข หรือมีการจัดอันดับหลายแห่งที่แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็น 1 ในประเทศที่มีระบบสาธารณสุขที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อาทิ มหาวิทยาลัย John Hopkins และองค์กร Nuclear Threat Initiative รายงานปี 2019 

พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 6 ของโลก และเป็นอันดับ 1 ของเอเชีย ทั้งยังได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน 13 ประเทศที่มีความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดมากที่สุด นิตยสาร CEOWorld Magazine ประจำปี 2021 (Health Care Index) จัดไทยอยู่อันดับที่ 13 จาก 89 ประเทศทั่วโลก หรือเป็นอันดับที่ 4 ของทวีปเอเชีย (รองจาก เกาหลีใต้ ไต้หวันและญี่ปุ่น ตามลำดับ) และเป็นอันดับที่ 1 ของอาเซียน ด้วยคะแนน 59.52 

ทั้งนี้ ไทยมีความโดดเด่นที่สุดในเรื่อง ความพร้อมของยาที่จะให้บริการ และโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบบริการสุขภาพ มีปัจจัยที่ใช้ประกอบการวิเคราะห์หลักๆ 5 ปัจจัย ดังต่อไปนี้ ได้แก่ 1)โครงสร้างพื้นฐานของระบบบริการสุขภาพ (Infrastructure) ได้รับ 98.7 คะแนน 2) บุคลากรทางการแพทย์ (แพทย์, พยาบาล และบุคลากรทางสาธารณสุข หรือ Professionals) ได้รับ 29.05 คะแนน 3) ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อปี (Cost) ได้รับ 94.99 คะแนน 4) ความพร้อมของยาที่ให้บริการ (Medicine Availability) ได้รับ 98.74 คะแนน และ 5)ความพร้อมของรัฐบาล (Government Readiness) ได้รับ 96.1 คะแนน

ผลจากการจัดอันดับ ดัชนีระบบบริการสุขภาพ ดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงสัญญาณที่ดีของการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเป็น “ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub)” ภายในปี 2569 เพื่อยกระดับมาตรฐานการดูแลสุขภาพในเชิงการท่องเที่ยว ต่อยอดสู่การสร้างอาชีพ

ที่มา : สำนักโฆษกรัฐบาล / ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19

อัพเดท \"โควิดวันนี้\" 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด กทม.-ปริมณฑล 1,860 จับตายะลา สงขลา นราธิวาส