เทคโนโลยีเสียงและพฤติกรรมผู้บริโภคหลังโควิด-19
เมื่อก่อนเรามักจะเคยชินกับการสื่อสารด้วยวิธีการกดแป้นพิมพ์ หรือสัมผัสหน้าจอ เช่น การพิมพ์ข้อความ การกดรีโมททีวี หรือกดเปิด-ปิดสวิทซ์ไฟ
เมื่อก่อนเรามักจะเคยชินกับการสื่อสารด้วยวิธีการกดแป้นพิมพ์ หรือสัมผัสหน้าจอ เช่น การพิมพ์ข้อความ การกดรีโมททีวี หรือกดเปิด-ปิดสวิทซ์ไฟ
แบรนด์ที่แข็งแกร่งสามารถให้ผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นสูงกว่าแบรนด์อื่นๆ และมีแนวโน้มในการเติบโตสูงกว่าเช่นกัน
หลังจากหมดช่วง Lock Down ในประเทศไทย ผู้บริโภคมีความกังวลกับสถานการณ์โควิด– 19 ลดน้อยลง จำนวน 31 เปอร์เซ็นต์บอกว่ากังวลกับโควิด – 19
เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 เมื่อต้นปี 2563 เราคิดว่าไม่นานวิกฤตินี้ก็คงจะผ่านพ้นไป แต่ดูเหมือนว่า เรายังคงต้องอยู่กับโลกที่มีโควิดต่อไป
หลังจากไทยออกจาก Lockdown เป็นช่วงเวลาที่แบรนด์ต่างๆ ต้องแข่งขันกันทำคะแนนกับผู้บริโภค เพื่อช่วงชิงส่วนแบ่งทางการตลาด
โควิด –19 ถือเป็นวิกฤติครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดใน generation ของเรา ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนปแลงในด้านของการเสพสื่อ
โควิด –19 เปลี่ยนแปลงชีวิตทุกคน เราก้าวสู่โลกใบใหม่พร้อมกับสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย กลายมาเป็นชีวิตประจำวัน ฉบับนี้จะขอพูดถึงความรู้สึก
เมื่อเกิด COVID-19 ขึ้นในประเทศไทยบางธุรกิจได้รับผลกระทบในด้านลบอย่างชัดเจน เช่น ธุรกิจท่องเที่ยวและการบริการ รถยนต์ อสังหาริมทรัพย์
ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ทั่วโลกต้องรับมือกับการแพร่ระบาดของ COVID19 ซึ่งยังไม่มีความชัดเจนว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร
ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตมากถึง 57 ล้านคน คิดเป็นประมาณ 82% ของประชากร และมีคนที่ใช้ Social Media เป็นประจำ 51 ล้านคน
ในปี 2562 เม็ดเงินโฆษณาผ่านสื่อดิจิทัลคาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากปี 2561 ประมาณ 19% ในครึ่งปีแรกเม็ดเงินโฆษณาอยู่ที่ 9,019 ล้านบาท
คงจะปฎิเสธไม่ได้เลยกับบทบาทของผู้หญิงและอิทธิพลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในปัจจุบัน บทบาทที่หลากหลายในสังคมไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงทำงาน
สำหรับประเทศในเอเซียผู้หญิงมีบทบาทสำคัญมากในฐานะผู้ตัดสินใจหลักในการซื้อสินค้า ในปัจจุบันผู้หญิงทำงานมากขึ้นเป็นผู้บริหารมากขึ้น
หลักการพื้นฐานของการตลาด คือการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคกับผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมในเวลาที่เขาต้องการ